E-Portfolio Subject to the Science Experiences Management for Early Childhood Semester 1 /2557
วันพฤหัสบดีที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2557
No.15
SCIENCE EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD
18 NOVEMBER 2014
EVENTS
ให้นำเสนองานวิจัยหรือโทรทัศน์ครู
- การกำเนิดของเสียง (โทรทัศน์ครู)
- ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย (วิจัย)
- สารอาหารในชีวิตประจำวัน (โทรทัศน์ครู)
- ไฟฟ้าและพรรณพืช (โทรทัศน์ครู)
- ผลการจัดกิจกรรมเรื่องแสงที่มัต่อทักษะการแสวงหาความรู้ (วิจัย)
- การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเครื่องดื่มสมุนไพร (วิจัย)
Make to Waffle
Material (วัสดุอุปกรณ์)
ขั้นตอนการ Waffle ทำดังนี้
1 เทแป้งลงไป 1 ถุง
2 ใส่ไข่ 1 ฟอง
3 ตีไข่ให้เข้ากับแป้ง
4 เติมน้ำลงไปเรื่อยๆ
5 คนให้เข้ากัน จากนั้นนำไปใส่แป้นพิมทำวาฟเฟิล
ความรู้ที่ได้รับ Knowledge has been
- ความรู่เรื่องบทวิจัยเเละข้อมูลจากโทรศัทน์ครูที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์เด็ฏปฐมวัย
- การทำขั้นตอนการ Waffle
การประเมิน
ตนเอง : วันนี้ตื่นเต้นเพราะตัวเอวต้องนำเสนองานวิจัยแต่ก็เตรียมตัวมา80เปอร์เซน เเละได้ทำ Waffle
เพื่อน : มีความตั้งใจในการนำเสนอวิจัยและข้อมูลโทรทัศน์ครู เพื่อนๆตั้งใจในการ Waffle
อาจารย์ : มีการให้คำแนะนำแต่ละคนในการนำเสนองานเพื่อให้เป็นแนวทางในการศึกษาข้อมูล และไปใช้ในอาคต อาจารย์เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการทำ Waffle ให้เด็กๆ
วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
No.14
SCIENCE EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD
18 novemBER 2014
นำเสนอแผนการสอนต่อจากอาทิตย์ที่เเล้ว
Group 7 หน่วย นกหงส์หยก (Tuesday)
ลักษณะของนกหงส์หยก
Group 8 หน่วย สับปะรด (Wednesday)
ประโยชน์และข้อควรระวัง
Group 9 หน่วย ส้ม (Thursday)
หลังจากที่นำเสนอครบทุกกลุ่มเเล้ว อาจารย์ให้นักศึกษาออกมาถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับวิจัยและการสอนตามแนวโทรทัศน์ครูดังนี้
นางสาวกมลชนก หยงสตาร์ นมสีกับน้ำยาล้างจาน ที่มาจากYouTube
ขั้นตอนการทดลอง ใส่นม-ใส่สีผสมอาหาร-ใส่น้ำยาล้างจาน หลังจากนั้นสังเกตุปฏิกิริยาในการทดลอง
ในเรื่องนี้เด็กๆได้เรียนรู้ในการสังเกต การทดลอง
นางสาวจุฑาทิพย์ แก่นแก้ว นำเสนอวิจัย สร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับประสาทสัมผัสทั้ง5
วิจัยนี้เด็กๆได้เรียนรู้- การสังเกต - การใช้ประสัมผัสทั้ง5
นางสาวรัตติพร ชัยยัง นำเสนองานวิจัย กระบวนการพัฒนาวิทยาศาสตร์พื้นฐานส่งเสริมศิลปะสร้างสรรค์
นางสาวอนุสรา แก้วชู นำเสนองานวิจัย ผลการเรียนรู้ทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาตร์เด็กปฐมวัย
วิจัยนี้เด็กได้เรียนรู้ทักษะ - การจำแนก - ทักษะการสื่อความหมาย
นางสาวรัชดาภรณ์ มณีศรี นำเสนอโทรทัศน์ครูกิจกรรมวิทยาศาสตณของเด็กปฐมวัยเรื่องหนังสือลอย
กิกรรมนี้เด็ฏๆได้ทักษะ - การสังเกต - การจำแนก - ทักษะการสื่อความหมาย
กิจกรรมCookink (ทาโกยากิ)
วัสดุอุปกรณ์และเครื่องปรุง
ในการทำกิจกรรม Cooking (ทาโกยากิ) ครูเเบ่งออกเป็น4ฐาน
1 ฐานหันผัก
2ฐานเจียวไข่
3ฐานใส่เครื่องปรุง
4ฐานนำไข่ใส่หลุมทาโกยากิ
ขั้นตอนการทำ
1ให้เด็กหั่นแครอท2แท่ง ปูอัด3เส้น ตั้นหอม1เส้น
2ให้เด็กๆเจียวไข่แล้วใส่ลงถ้สยตัวเองคนละ1ทัพพี
3ให้เด็กนำถ้สยไข่ไปใส่เครื่องปรุงฐานที่3ดังนี้ แครอท1ช้อนชา ปูอัดครึ่งช้อนชา ต้นหอม1ช้อนชา ซอลปรุงรสครึ่งช้อนชา(แล้วแต่ความชอบ) ข้าวเปล่า1ช้อนโต๊ะแล้วคนให้เขากันจากนั้นไปฐานที่4
4ตั้งกระทะให้ร้อนนำเนยรสยืดลงใส่เล็กน้อยเพื่อไม่ให้ติดกระทะและวไปลงกระทาทาโกยากิ
ประมวลภาพกิจกรรมในชั้นเรียน
application
1.การนำไปจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย
2.นำไปประยุกต์ในการเขียนแผนการสอน
3.นำวิธีการสอนไปสอนเด็กในอนาคต
4.ความรู้เรื่องวิจัยและการทดลองจากโทรทัศน์ครู
5.การทำอาหาร
ุ
การประเมิน
ตนเอง : ช่วงแรกๆในการเรียนไม่ค่อยตั้งใจเพราะมัวเเต่คุยกับเพื่อนเเละกดโทรศัพท์และช่วง การทำอาหารนั้นสนใจเพราะรู้สึกตื่นเต้นๆแล้วผลที่ทำอาหารออกมาปรากฎว่าอร่อย
เพื่อน : มีความตั้งใจในการนำเสนอแผน วิจัยและทำกิจกรรม
อาจารย์ : มีการให้คำแนะนำแต่ละกลุ่มที่สามารถนำไปปรับใช้ได้ดีและมีการทำอาหารในวิชาทำให้สนุกสนาน ชอบมากค่ะ
วิจัย
วิจัยการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมการทำเครื่องดื่มสมุนไพร
ชื่องานวิจัย การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมการทำเครื่องดื่มสมุนไพร
ชื่อผู้วิจัย วณิชา สิทธิพล
สถานศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กลุ่มตัวอย่าง
นักเรียนชั้นอนุบาล1 อายุระหว่า4-5 ปี โรงเรียนวัดชำป่างาม
จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 15 คน
สมุนไพรที่นำมาใช้ในงานวิจัย
กระเจี๊ยบแดงเตยหอมมะตูมฝรั่งมะนาวมะพร้าวมะขามระยะเวลาในการดำเนินการ
ใช้เวลา8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ50 นาที รวม24 ครั้ง
ในช่วงกิจกรรมเสริมประสบการณ์
วิธีการทดลองวิจัย
ขั้นนำ
ร้องเพลง
การท่องจำคำคล้องจอง ปริศนาคำทายเลือกใช้สื่ออย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อกระตุ้นให้เด็กเกิดความสนใจและเตรียมความพร้อมเข้าสู่กิจกรรม
ขั้นสอน
แนะนำส่วนผสม
วัสดุ อุปกรณ์ พร้อมสร้างข้อตกลง จากนั้นแบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ5คนครูสาธิตให้เด็กดู1ครั้งอย่างช้าๆ จากนั้นให้เด็กลงมือทำน้ำสมุนไพรโดยขั้นตอนนี้
ครูมีหน้าที่แนะนำกระตุ้นเด็กให้เด็กใช้ทักษะทางการสังเกต การจำแนก และการชั่ง ตวง
วัด เมื่อทำกิจกรรมแล้วเมื่อเสร็จกิจกรรมแต่ละกลุ่มร่วมเก็บล้างวัสดุอุปกรณ์
ขั้นสรุป
เด็กๆร่วมสรุป
ขั้นตอนการทำน้ำสมุนไพร
ทักษะที่ได้จากการทำกิจกรรม
-ทักษะการจำแนก
-ทักษะการสื่อความหมายของข้อมูล
สรุปวิจัย
เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นเมื่อได้รับการจัดกิจกรรมการทำน้ำสมุนไพร
์No.13
SCIENCE EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD
11 novemBER 2014
การทดลองสอนตามแผนการสอนดังนี้
Group1 หน่วยผลไม้
Group2 หน่วยนกหงส์หยกGroup3 หน่วยข้าวโพด
Group4 หน่วยแตงโมง
Group5 หน่วยกล้วย
Group6 หน่วยช้าง
Group7 หน่วยผีเสื้อ
Group8 หน่วยสัปปะรด
Group9
หน่วยส้ม
วันนี้มีการนำเสนองานทั้งหมด
6กลุ่ม อีก3กลุ่มยังไม่ได้ออกมานำเสนอ คือ กลุ่มนกหงษ์หยก/กลุ่มสัปปะรดและกลุ่มส้ม
Group 1 หน่วย ผลไม้ (monday)
ชนิดของผลไม้
Group 2 หน่วย แตงโม (thursday)
การทำน้ำแตงโมปั่น
Group 3 หน่วย ข้าวโพด (thursday)
ประโยชน์และข้อควรระวังของข้าวโพด
Group 4 หน่วย กล้วย (thursday)
ประโยชน์และข้อควรระวังของกล้วย
ชนิดของช้าง
Group 6 หน่วย ผีเสื้อ (ํTuesday)
ลักษณะของผีเสื้อ
application
1.การนำไปจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย
2.นำไปประยุกต์ในการเขียนแผนการสอน
3.นำวิธีการสอนไปสอนเด็กในอนาคต
การประเมิน
ตนเอง : รู้สึกตื่นเต้นเพราะเป็นวันที่เราได้รับมอบหมายให้เขียนแผนจึงได้เป็นตัวเเทนกลุ่มสอน เพื่อนและรู้สึกภูมิใจกับผลงานที่ออกมาแม้จะไม่ดีเท่าที่ควร
เพื่อน : มีความตั้งใจในการทำกิจกรรม
อาจารย์ : มีการให้คำแนะนำแต่ละกลุ่มที่สามารถนำไปปรับใช้ได้ดี
ืNo.12
SCIENCE EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD
4 novemBER 2014
Events
การเขียนแผนจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย SCIENCE EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHAILDHOOD
Sample lesson plans
Elements of lesson plans
my lesson plans
The atmosphere in the classroom
application
การเรียนแผนการสอนบูรณาการรายวิชาอื่นๆ
การประเมิน
ตนเอง : รู้สึกว่ายังไม่มีความคิดที่ริเริ่ม การคิดที่แปลกใหม่เท่าไหร่ จึงทำแผนออกมาได้ ไม่ดีเท่าที่ควรแต่ก็จะกลับไปปรับปรุง
เพื่อน : คุยกันในชั้นเรียน สนใจการเรียนน้อย
อาจารย์
: มีการอธิบายแผนการเรียนได้บางครั้งก็มับซ้อนเกินไป
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)